วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

Original havighurst — Presentation Transcript

 
  • 1. ทฤษฎีพัฒนาการของโร เบิรต ฮาวิกเฮิรส    
  • 2. แนวคิด ทฤษฎีพัฒนาการของฮาวิกเฮิร์สได้รับ แนวความคิดจาก อีริคสันเกี่ยวกับ พัฒนาการแต่ละช่วงวัยของบุคคล  ฮาวิกเฮิร์ส กล่าวว่าพัฒนาการใน แต่ละวัยมีความสำาคัญมาก เพราะจะ เป็นรากฐานของการเรียนรู้งานพัฒนา ขั้นต่อไป โดยงานพัฒนาการเริ่มตังแต่ ้ แรกของชีวต ิ
  • 3. พัฒนาการแต่ละวัย ฮาวิกเฮิร์สต์ (Havighurst, 1972)ได้ แบ่งการพัฒนาการในแต่ละวัยออกเป็น 6 ช่วงวัยคือ  วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น  วัยเด็กตอนกลาง  วัยรุ่น  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น  วัยกลางคน  วัยสูงอายุ
  • 4. วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น(infancy and early childhood) วัยเด็กเล็กและวัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด-6 ปี) งานที่สำาคัญดังนี้  เรียนรู้ทางร่างกาย เช่น ยกศีรษะ คลาน ทรงตัว เดิน เป็นต้น  เรียนรู้ในการรับประทานอาหารอื่นๆ นอกเหนือไปจากนม  เรียนรู้การพูดหรือใช้ภาษาสือความ ่ หมาย 
  • 5. วัยเด็กตอนกลาง (middle childhood) วัยเด็กตอนกลาง (อายุ 6-12 ปี) งานที่ สำาคัญมีคือ  เรียนรู้ที่จะใช้ทักษะทางร่างกายที่จำาเป็น สำาหรับการเล่นเกม  เรียนรู้บทบาททางสังคมสำาหรับเพศชาย และเพศหญิง  พัฒนาความคิดรวบยอดที่จำาเป็นสำาหรับ ชีวิตประจำาวัน  เรียนรู้ในการปรับตัวให้เข้ากับเพือนร่วม ่
  • 6. วัยรุ่น (adolescence) วัยรุ่น (12-18 ปี) งานที่สำาคัญดังนี้  พัฒนาทักษะทางเชาวน์ปญญาและความ ั คิดรวบยอด  สมาชิกของชุมชนที่มีสมรรถภาพ  สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพือนร่วม ่ วัย ทั้งเพศชายและเพศหญิง  ยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและ สามารถปรับตัวได้  เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพใน
  • 7. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (young adulthood) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) วัยนี้มี ลักษณะสำาคัญดังนี้  เริ่มการประกอบอาชีพ  เริ่มสร้างครอบครัว  เรียนรู้ที่จะมีชีวิตร่วมกับคู่ครอง (สามี หรือภริยา)  รู้จักจัดการภารกิจในครอบครัว  เริ่มมีความรับผิดชอบในฐานะเป็น
  • 8. วัยกลางคน (middle adulthood) วัยกลางคน (35-60 ปี) งานที่สำาคัญในวัย นี้คอ ื  มีความรับผิดชอบต่อสังคม  มีความพยายามสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ เพื่อความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว  รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ได้มาก ขึ้น  สามารถปรับตัวและทำาความเข้าใจคูชีวิต่
  • 9. วัยสูงอายุ (old age) วัยชรา (60 ปีขึ้นไป) วัยนีมีงานสำาคัญ ้ ดังนี้  สามารถปรับตัวได้กบสภาพที่เสือม ั ่ ถอยลง  สามารถปรับตัวได้กบการเกษียณ ั อายุการทำางาน  สามารถปรับตัวได้กบการตายจาก ั ของคูครอง ่
  • 10. การนำาไปใช้ งานพัฒนาการของฮาวิกเฮิร์สนีมี ้ ผู้นำาไปประยุกต์ใช้ในวงการศึกษา มาก โดยเฉพาะในระดับอนุบาลประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพราะทำาให้ครูทราบว่าเด็กในวัยต่างๆ นัน้ ทำาอะไรได้บ้าง จะจัดการเรียนรู้อย่างไรให้สนองความพร้อมของเด็ก เมือครูทราบว่าเด็กวัยนั้นๆ ควรทำา ่อะไรได้บาง สิงเหล่านีมีความจำาเป็น ้ ่ ้
  • 11. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับอนุบาล มีความคิดรวบยอดง่ายๆ เกียวกับความ ่ จริงทางสังคมและทางกายภาพ  เรียนรู้ทจะสร้างความผูกพันระหว่าง ี่ ตนเองกับพ่อแม่พนองตลอดจนคนอื่นๆ ี่ ้  เรียนรู้ทจะมองเห็นความแตกต่าง ี่ ระหว่างสิงทีผิดทีถก และเริ่มพัฒนา ่ ่ ่ ู ทางจริยธรรม
  • 12. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับประถมศึกษา  เรียนรู้ทจะใช้ทกษะทางด้านร่างกาย ี่ ั ในการเล่น สร้างเจตคติตอตนเองในฐานะทีเป็นสิง ่ ่ ่ มีชวต ี ิ  เรียนรู้ทจะปรับตัวเข้ากับเพือนรุ่น ี่ ่ เดียวกัน เรียนรู้บทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิง
  • 13. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับประถมศึกษา (ต่อ) พัฒนาเกียวกับศีลธรรมจรรยาและค่า ่ นิยม  สามารถพึงพาตนเองได้ ่  พัฒนาเจตคติตอกลุมสังคมและต่อ ่ ่ สถาบันต่างๆ
  • 14. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับมัธยมศึกษา  สามารถสร้างความสัมพันธ์อนดีและ ั เหมาะสมกับเพือนในราวคราวเดียกัน ่ แสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับ เพศของตน  ยอมรับสภาพร่างกายตนเอง  รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
  • 15. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับมัธยมศึกษา (ต่อ)  มีการเตรียมตัวเพือการแต่งงานและ ่ การมีครอบครัว  เริ่มเตรียมตัวทีจะเป็นพลเมืองดี ่ มีความต้องการและรู้จักพัฒนาตนเอง ให้มีความรับผิดชอบ  มีความเข้าใจในเรื่องค่านิยม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น