วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
พาฟลอฟ
 
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
( Ivan Petrovich Pavlov )
ชื่อ อีวาน เปโตรวิช พาฟลอฟ
เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849 ( 1849-09-14 ) รีซาน , จักรวรรดิรัสเซีย
เ สียชีวิต 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี) เลนินกราด , สหภาพโซเวียต
สาขาวิชา สรีวิทยา , จิตวิทยา , แพทย์
ผลงาน การวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม Transmarginal.inhibition การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เกียรติประวัติ รางวัลโนเบลสาขาสรีวิทยา หรือการแพทย์ ( ค.ศ.1904 )
 
การทดลอง
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
พาพลอฟ เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือสถานการณ์เกิดขึ้น ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข พาพลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข และปฏิกิริยาน้ำลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนองที่มีเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) ผู้ที่ทำการศึกษาทดลองในเรื่องนี้คือ พาฟลอฟ (Pavlov) ทำการศึกษาทดลองกับสุนัข โดยฝึกสุนัขให้ยืนนิ่งอยู่ในที่ตรึงในห้องทดลอง ที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ำลาย การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ ก่อนการวางเงื่อนไข ระหว่างการวางเงื่อนไข และหลังการวางเงื่อนไข
ขั้นที่ 1 เสียงกระดิ่ง (CS) ไม่มีน้ำลาย ผงเนื้อ (UCS) น้ำลายไหล (UCR)
ขั้นที่ 2 เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล (UCR) และผงเนื้อ (UCS) ทำขั้นที่ 2 ซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง
ขั้นที่ 3 เสียงกระดิ่ง (CS) น้ำลายไหล (CR)

การเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคคือการตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อนำสิ่งเร้าใหม่มาควบคู่กับสิ่งเร้าเดิม ซึ่งนักจิตวิทยาเรียกพฤติกรรมการตอบสนองนี้ว่าพฤติกรรมเรสปอนเด้นท์

ภาพ แสดงผลการทดลอง
องค์ประกอบสำคัญในการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง จะต้องประกอบด้วยกระบวนการของส่วนประกอบ 4 อย่าง คือ
1. สิ่งเร้า เป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมา
2. แรงขับ จะทำให้เกิดปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
3. การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาเมื่อได้รับการ กระตุ้นจากสิ่งเร้า
4. สิ่งเสริมแรง เป็นสิ่งมาเพิ่มกำลังให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองให้มีแรงขับเพิ่มขึ้น
กฎการเรียนรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้นในการทดลอง พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ข้อคือ
1. กฎการลบพฤติกรรม
2. กฎแห่งการคืนกลับ
3. กฎความคล้ายคลึงกัน
4. การจำแนก
ลักษณะของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1.การตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้า หรือสิ่งเร้าเป็นตัวดึงการตอบสนองมา
2.การตอบสนองเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่ได้จงใจ
3.ให้ตัวเสริมแรงก่อน แล้วผู้เรียนจึงจะตอบสนอง เช่น ให้ผงเนื้อก่อนจึงจะมีน้ำลายไหล
4.รางวัลหรือตัวเสริมแรงไม่มีความจำเป็นต่อการวางเงื่อนไข
5.ไม่ต้องทำอะไรกับผู้เรียน เพียงแต่คอยจนกระทั่งมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจึงจะเกิดพฤติกรรม
6.เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาสะท้อนและอารมณ์ ซึ่งมีระบบประสาทอัตโนมัติเข้าไปเกี่ยวข้องในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์
3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
บันดูรา
 
 
 การเรียนรู้โดยการสังเกต — Presentation Transcript
 
 
 
 
 
 
 
 
  • 1. การเรีย นรู้โ ดยการสัง เกตหรือ เลีย นแบบ ศาสตราจารย์บ น ดูร า ั
  • 2. ประวัต ิโ ดยสัง เขป• ของอัล เบิร ์ต บัน ดูร า (Albert Bandura) » นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่ให้ความสนใจงานที่ เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม » อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศ แคนาดา » ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ทางจิตวิทยาคลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา » ทำางานภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟ อร์ด
  • 3. การทดลอง• การทดลองอันแรกโดย บันดูรา ร็อส และร็อส (Bandural, Ross&Roos, 1961) เป็นการ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวโดยการสังเกต บันดูรา และผูร่วมงานได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม ้ หนึงให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชวิต แสดง ่ ี พฤติกรรมก้าวร้าว เด็กกลุ่มที่สองมีตัวแบบที่ไม่ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และเด็กกลุ่มที่สามไม่มี ตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
  • 4. • ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว การ ทดลองเริ่มด้วยเด็กและตัวแบบเล่นตุ๊กตา (Tinker Toys) สักครู่หนึ่งประมาณ 1 – 10 นาที ตัวแบบลุกขึ้นต่อย เตะ ทุบ ตุ๊กตาที่ทำาด้วย ยางแล้วเป่าลม ฉะนันตุ๊กตาจึงทนการเตะต่อย ้ หรือแม้ว่าจะนั่งทับหรือยืนก็ไม่แตก สำาหรับเด็ก กลุ่มที่สอง เด็กเล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กับตัวแบบ แต่ ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวให้ดูเป็น ตัวอย่าง เด็กกลุ่มที่สามเล่นตุ๊กตาโดยไม่มีตัว แบบ
  • 5. • หลังจากเล่นตุ๊กตาแล้วแม้ผทดลองพาเด็กไปดู ู้ ห้องที่มีตุ๊กตาที่น่าเล่นมากกว่า แต่บอกว่าห้าม จับตุ๊กตา เพื่อจะให้เด็กรู้สกคับข้องใจ เสร็จแล้ว ึ นำาเด็กไปอีกห้องหนึ่งทีละคน ซึ่งมีตุ๊กตาหลาย ชนิดวางอยู่และมีตุ๊กตายางที่เหมือนกับตุ๊กตาที่ ตัวแบบเตะต่อยและทุบรวมอยู่ด้วย
  • 6. ผลการทดลอง• พบว่า เด็กที่อยู่ในกลุ่มที่มีตัวแบบแสดง พฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เตะต่อยทุบ รวมทั้งนั่งทับตุ๊กตายางเหมือนกับที่ สังเกตจากตัวแบบแสดงและค่าเฉลี่ย (Mean) ของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงโดยเด็กกลุ่มนี้ ทั้งหมดสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กกลุ่มที่สองและกลุ่มที่สาม
  • 7. การทดลองที่สอง• วิธีการทดลองเหมือนกับการทดลองที่หนึงแต่ใช้ ่ ภาพยนตร์แทนของจริง โดยกลุ่มหนึ่งดู ภาพยนตร์ที่ตัวแบบ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อีก กลุ่มหนึ่งดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดง พฤติกรรมก้าวร้าว ผลของการทดลองที่ได้ เหมือนกับการทดลองที่หนึ่ง คือ เด็กที่ดู ภาพยนตร์ที่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กที่อยู่ใน กลุ่มที่ดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมที่ ก้าวร้าว
  • 8. การทดลอง• บันดูรา และเม็นลอฟได้ศึกษาเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมี ความกลัวสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข จนกระทั่ง พยายามหลีกเลี่ยงหรือไม่มปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ ี เลี้ยง บันดูราและเม็นลอฟได้ให้เด็กกลุ่มหนึ่งที่มี ความกลัวสุนัขได้สงเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข ั และสามารถจะเล่นกับสุนัขได้อย่างสนุก โดยเริ่ม จากการค่อย ๆ ให้ตัวแบบเล่น แตะ และพูดกับ สุนัขที่อยู่ในกรงจนกระทั่งในที่สุดตัวแบบเข้าไป อยู่ในกรงสุนัข
  • 9. ผลของการทดลอง• ปรากฏว่าหลังจากสังเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข เด็กจะกล้าเล่นกับสุนัขโดยไม่กลัว หรือ พฤติกรรมของเด็กที่กล้าที่จะเล่นกับสุนัขเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมที่แสดงว่ากลัวสุนัขจะลดน้อยไป
  • 10. สาระสำาคัญ• แนวคิดพืนฐาน ้• 1. บันดูรามีทศนะว่า พฤติกรรม (behavior หรือ B) ั ของมนุษย์มปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยหลักอีก 2 ปัจจัย คือ ี 1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ( Personal Factor ) 2) อิทธิพลของสภาพ แวดล้อม ( Environmental Influences )• 2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้ (Learning) กับการกระทำา(Performance)ซึ่งสำาคัญ มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่ จำาเป็นต้องแสดงออกทุกอย่าง เช่นเราอาจจะเรียนรู้วิธี การ ทุจริตในการสอบว่าต้องทำาอย่างไรบ้าง แต่ถึง เวลาสอบจริงเราอาจจะไม่ทจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้ ุ ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อ แม่เป็น
  • 11. • 3. บันดูราเชือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์สวนมาก ่ ่ เป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling) สำาหรับตัวแบบไม่จำาเป็นต้องเป็น ตัวแบบที่มีชวิตเท่านั้น แต่อาจจะ เป็นตัวแบบ ี สัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมส์คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็น รูปภาพ การ์ตูน หนังสือ นอกจากนี้ คำาบอกเล่า ด้วยคำาพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์- อักษรก็เป็นตัวแบบได้
  • 12. • บันดูรา (Bandura, 1977) ได้อธิบายกระบวนการที่ สำาคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเรียนรู้โดย ตัวแบบว่ามีทงหมด 4 อย่างคือ ั้ 1. ผู้เรียนจะต้องมีความใส่ใจ (Attention) ทีจะสังเกต ่ ตัวแบบ ไม่ว่าเป็นการแสดงโดยตัวแบบจริงหรือตัวแบบ สัญลักษณ์ ถ้าเป็นการอธิบายด้วยคำาพูดผู้เรียนก็ต้อง ตั้งใจฟังและถ้าจะต้องอ่านคำาอธิบายก็จะต้องมีความ ตั้งใจทีจะอ่าน ่• 2. ผู้เรียนจะต้องเข้ารหัสหรือบันทึกสิ่งทีสังเกตหรือสิ่งที่ ่ รับรู้ไว้ในความจำาระยะยาว• 3. ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว แบบ และควรจะทำาซำ้าเพื่อจะให้จำาได้• 4. ผู้เรียนจะต้องรู้จักประเมินพฤติกรรมของตนเองโดย ใช้เกณฑ์ (Criteria) ทีตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือโดย ่
  • 13. สรุป• การเรียนรู้พฤติกรรมสำาคัญต่าง ๆ ทังที่เสริมสร้างสังคม ้ (Prosocial Behavior) และพฤติกรรมทีเป็นภัยต่อ ่ สังคม (Antisocial Behavior) ได้เน้นความสำาคัญ ของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัว แบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทงตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพือน ั้ ่ หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน หรือจากการอ่าน จากหนังสือได้ การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการ ทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำา ตัวแบบทีมอิทธิพล ่ ี ต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทงตัวแบบในชีวิตจริงและตัว ั้ แบบทีเป็นสัญญลักษณ์ เพราะฉะนันพฤติกรรมของ ่ ้ ผู้ใหญ่ในครอบครัว โรงเรียน สถาบันการศึกษา และ
  • 14. การประยุกต์ใช้• 1. ตั้งวัตถุประสงค์ทจะทำาให้นกเรียนแสดงพฤติกรรม ี่ ั หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม 2. ผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำาหลายๆตัวอย่าง ซึงอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทัศน์ ่ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ 3. ผู้สอนให้คำาอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละ ครั้ง 4. ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควรจะใส่ใจหรือ เลือกใส่ใจ 5.จัดให้นักเรียนมีโอกาสทีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว ่ แบบ เพือจะได้ดว่านักเรียนสามารถที่จะกระทำาโดยการ ่ ู เลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำาได้ไม่ถูกต้องอาจจะ ต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขทีตัวผู้เรียนเอง ่ 6.ให้แรงเสริมแก่นกเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถก ั ู
  • 15. ตัวอย่าง• การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อม เลียนแบบผูที่ได้รับรางวัลมากกว่าผูที่ถูกลงโทษ ้ ้ ดังนั้น เด็กเรียนรู้ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับ รางวัลหรือการลงโทษ
 
 
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ออซูเบล
 
 
1. ออซูเบล (Ausubel , David 1963) เป็นนักจิตวิทยาแนวปัญญานิยม
ทฤษฎีของออซูเบลเป็นทฤษฎีที่หาหลักการอธิบายการเรียนรู้ที่เรียกว่า "Meaningful Verbal Learning" โดยเฉพาะ การเชื่อมโยงความรู้ที่ปรากฎในหนังสือที่โรงเรียนใช้กับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองของผู้เรียน ในโครงสร้างสติปัญญา(Cognitive Structure) หรือการสอนโดยวิธีการให้ข้อมูลข่าวสาร ด้วยถ้อยคำทฤษฎีของออซูเบล เน้นความสำคัญของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจทฤษฎีของออซูเบลบางครั้งเรียกว่า "Subsumption Theory"
2. ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism)
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 นักทฤษฎีการเรียนรู้เริ่มตระหนักว่า การที่จะเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์นั้น จะต้องผ่านการพิจารณา ไตร่ตรอง การคิด (Thinking) เช่นเดียวกับพฤติกรรม และควรเริ่มสร้างแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ในทรรศนะของ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด(Mental change) มากกว่าการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ดังนั้นจึงมี การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากความสนใจเกี่ยวกับสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
3. กลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism)
กลุ่มพุทธิปัญญา ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของผู้เรียน ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ที่มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางสติปัญญาของมนุษย์
4. การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
คือ ผู้เรียนได้เชื่อมโยง (Subsumme) สิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่ กับความรู้เดิมที่มีมาก่อนที่มีในโครงสร้างในสติปัญญาของผู้เรียนมาแล้ว
ออซูเบลให้ความหมายการเรียนรู้อย่างมีความหมาย( Mearningful learning) ว่า เป็นการเรียนที่ผู้เรียนได้รับมาจากการที่ผู้สอน อธิบายสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ให้ทราบและผู้เรียนรับฟังด้วยความเข้าใจ โดยผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างพุทธิปัญญาที่ได้เก็บไว้ในความทรงจำ และจะสามารถนำมาใช้ในอนาคต ออซูเบลได้ชี้ให้เห็นว่าทฤษฎีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะอธิบายเกี่ยวกับพุทธิปัญญา
5. ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย
1. Subordinate learning
1.1 Deriveration Subsumption
เป็นการเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่กับหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่เคยเรียนมาแล้ว โดยการได้รับข้อมูลมาเพิ่ม เช่น มีคนบอก
1.2 Correlative subsumption
เป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสร้างทางสติปัญญาที่มีมาก่อนให้สัมพันธ์กับสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่
2. Superordinate learning
เป็นการเรียนรู้โดยการอนุมาน โดยการจัดกลุ่มสิ่งที่เรียนใหม่เข้ากับความคิดรวบยอดที่กว้างและครอบคลุมความคิดยอดของสิ่งที่เรียนใหม่
3. Combinatorial learning
เป็นการเรียนรู้หลักการ กฎเกณฑ์ต่างๆเชิงผสม ในวิชาคณิตศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ โดยการใช้เหตุผล หรือการสังเกต
6. เทคนิคการสอน
ออซูเบลได้เสนอแนะเกี่ยวกับ Advance organizer เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมายจากการสอนหรือบรรยายของครู โดยการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ที่มีมาก่อนกับข้อมูลใหม่ หรือความคิดรวบยอดใหม่ ที่จะต้องเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายที่ไม่ต้องท่องจำ หลักการทั่วไปที่นำมาใช้ คือ
- การจัด เรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ ออกเป็นหมวดหมู่
- นำเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
- แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สำคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสำคัญ
7. สรุปได้ว่า การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Mearningful learning)
ออซูเบล เป็นทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา เน้นความสำคัญของผู้เรียน ออซูเบลจะสนับสนุนทั้ง Discovery และ Expository technique ซึ่งเป็นการสอนที่ครูให้หลักเกณฑ์ และผลลัพธ์ ออซูเบลมีความเห็นว่าสำหรับเด็กโต (อายุเกิน11หรือ 12 ปี)นั้น การจัดการเรียนการสอนแบบ Expository technique น่าจะเหมาะสมกว่าเพราะเด็กวัยนี้สามารถเข้าใจเรื่องราว คำอธิบายต่างๆได้
ทฤษฎีงานพัฒนาการตามวัย
ฮาวิกเฮิร์ส
 
 
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัยของโรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส ( Havighurst’s Theory of Development task )
แนวคิดของโรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส
ศาสตราจารย์โรเบิร์ต ฮาวิกเฮิร์ส (Robert havighurst 1953-1972) ได้ให้ชื่อว่า งานที่มนุษย์ทุกคนจะต้องทำตามวัยว่า “ งานพัฒนาการ ” หมายถึง งานที่ทุกคนจะต้องทำในแต่ละวัยของชีวิต สัมฤทธิ์ผลของงานพัฒนาการของงานแต่ละวัย มีความสำคัญมากเพราะเป็นของการเรียนรู้งานพัฒนาขั้นต่อไป
ตัวแปรที่สำคัญในการพัฒนามี 3 อย่าง
1. วุฒิภาวะทางร่างกาย
2. ความมุ่งหวังของสังคมและกลุ่มที่แต่ละบุคคลเป็นสมาชิกอยู่
3. ค่านิยม แรงจูงใจ ความมุ่งหวังส่วนตัวและความทะเยอทะยานของแต่ละบุคคล
3.1 ความพร้อมเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Readiness Approach)
3.2 ความพร้อมเกิดจากการกระตุ้น (Guided Experience Approach)
การแบ่งพัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 4 ด้านใหญ่ๆ คือ
1. พัฒนาการทางกาย เป็นการแบ่งพัฒนาการของมนุษย์ตามขั้นตอนในแต่ละวัน
2. พัฒนาการทางด้านความคิดหรือสติปัญญา (Cognitive Development) ของเพียเจท์
3. พัฒนาการทางด้านจิตใจ ซึ่งแบ่งย่อยเป็น
3.1 พัฒนาการทางด้านจิตใจ-เพศ (Psychosexual Development) ของฟรอยด์ (Freud)
3.2 พัฒนาการทางด้านจิตใจ-สังคม (Psychosocial Development) ของอีริคสัน (Erikson)
4. พัฒนาการด้านจริยธรรม (Moral Development) ของโคลเบริ์ก (Kohlberg)

พัฒนาการตามวัย
ตามแนวความคิดของฮาวิคเฮอร์ท (Hovighurst) ได้แบ่งพัฒนาการของมนุษย์ออกเป็นวัยต่างๆได้ดังนี้
1. วัยเด็กเล็ก-วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด- 6 ปี)
2. วัยเด็กตอนกลาง (6-18 ปี)
3. วัยรุ่น (12-18 ปี)
4. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
5. วัยกลางคน (35-60 ปี)
6. วัยชรา (อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป)
หลักพัฒนาการแนวคิด
- สามารถที่จะแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศของตน
- เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพในอนาคต
- พัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาและความคิดรวบยอดต่างๆที่จำเป็นสำหรับสมาชิกของชุมชนที่มีสมรรถภาพ
- มีความต้องการที่จะแสดงพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถสังเกตพัฒนาการต่างๆของเพื่อนๆและคนรอบข้าง เพื่อให้รู้จักนิสัยใจคอมากขึ้น และใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่เกี่ยวทางการศึกษาและการสืบค้นหรืออื่นๆได้

Original havighurst — Presentation Transcript

 
  • 1. ทฤษฎีพัฒนาการของโร เบิรต ฮาวิกเฮิรส    
  • 2. แนวคิด ทฤษฎีพัฒนาการของฮาวิกเฮิร์สได้รับ แนวความคิดจาก อีริคสันเกี่ยวกับ พัฒนาการแต่ละช่วงวัยของบุคคล  ฮาวิกเฮิร์ส กล่าวว่าพัฒนาการใน แต่ละวัยมีความสำาคัญมาก เพราะจะ เป็นรากฐานของการเรียนรู้งานพัฒนา ขั้นต่อไป โดยงานพัฒนาการเริ่มตังแต่ ้ แรกของชีวต ิ
  • 3. พัฒนาการแต่ละวัย ฮาวิกเฮิร์สต์ (Havighurst, 1972)ได้ แบ่งการพัฒนาการในแต่ละวัยออกเป็น 6 ช่วงวัยคือ  วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น  วัยเด็กตอนกลาง  วัยรุ่น  วัยผู้ใหญ่ตอนต้น  วัยกลางคน  วัยสูงอายุ
  • 4. วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น(infancy and early childhood) วัยเด็กเล็กและวัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด-6 ปี) งานที่สำาคัญดังนี้  เรียนรู้ทางร่างกาย เช่น ยกศีรษะ คลาน ทรงตัว เดิน เป็นต้น  เรียนรู้ในการรับประทานอาหารอื่นๆ นอกเหนือไปจากนม  เรียนรู้การพูดหรือใช้ภาษาสือความ ่ หมาย 
  • 5. วัยเด็กตอนกลาง (middle childhood) วัยเด็กตอนกลาง (อายุ 6-12 ปี) งานที่ สำาคัญมีคือ  เรียนรู้ที่จะใช้ทักษะทางร่างกายที่จำาเป็น สำาหรับการเล่นเกม  เรียนรู้บทบาททางสังคมสำาหรับเพศชาย และเพศหญิง  พัฒนาความคิดรวบยอดที่จำาเป็นสำาหรับ ชีวิตประจำาวัน  เรียนรู้ในการปรับตัวให้เข้ากับเพือนร่วม ่
  • 6. วัยรุ่น (adolescence) วัยรุ่น (12-18 ปี) งานที่สำาคัญดังนี้  พัฒนาทักษะทางเชาวน์ปญญาและความ ั คิดรวบยอด  สมาชิกของชุมชนที่มีสมรรถภาพ  สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพือนร่วม ่ วัย ทั้งเพศชายและเพศหญิง  ยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและ สามารถปรับตัวได้  เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพใน
  • 7. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (young adulthood) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) วัยนี้มี ลักษณะสำาคัญดังนี้  เริ่มการประกอบอาชีพ  เริ่มสร้างครอบครัว  เรียนรู้ที่จะมีชีวิตร่วมกับคู่ครอง (สามี หรือภริยา)  รู้จักจัดการภารกิจในครอบครัว  เริ่มมีความรับผิดชอบในฐานะเป็น
  • 8. วัยกลางคน (middle adulthood) วัยกลางคน (35-60 ปี) งานที่สำาคัญในวัย นี้คอ ื  มีความรับผิดชอบต่อสังคม  มีความพยายามสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ เพื่อความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว  รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ได้มาก ขึ้น  สามารถปรับตัวและทำาความเข้าใจคูชีวิต่
  • 9. วัยสูงอายุ (old age) วัยชรา (60 ปีขึ้นไป) วัยนีมีงานสำาคัญ ้ ดังนี้  สามารถปรับตัวได้กบสภาพที่เสือม ั ่ ถอยลง  สามารถปรับตัวได้กบการเกษียณ ั อายุการทำางาน  สามารถปรับตัวได้กบการตายจาก ั ของคูครอง ่
  • 10. การนำาไปใช้ งานพัฒนาการของฮาวิกเฮิร์สนีมี ้ ผู้นำาไปประยุกต์ใช้ในวงการศึกษา มาก โดยเฉพาะในระดับอนุบาลประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพราะทำาให้ครูทราบว่าเด็กในวัยต่างๆ นัน้ ทำาอะไรได้บ้าง จะจัดการเรียนรู้อย่างไรให้สนองความพร้อมของเด็ก เมือครูทราบว่าเด็กวัยนั้นๆ ควรทำา ่อะไรได้บาง สิงเหล่านีมีความจำาเป็น ้ ่ ้
  • 11. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับอนุบาล มีความคิดรวบยอดง่ายๆ เกียวกับความ ่ จริงทางสังคมและทางกายภาพ  เรียนรู้ทจะสร้างความผูกพันระหว่าง ี่ ตนเองกับพ่อแม่พนองตลอดจนคนอื่นๆ ี่ ้  เรียนรู้ทจะมองเห็นความแตกต่าง ี่ ระหว่างสิงทีผิดทีถก และเริ่มพัฒนา ่ ่ ่ ู ทางจริยธรรม
  • 12. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับประถมศึกษา  เรียนรู้ทจะใช้ทกษะทางด้านร่างกาย ี่ ั ในการเล่น สร้างเจตคติตอตนเองในฐานะทีเป็นสิง ่ ่ ่ มีชวต ี ิ  เรียนรู้ทจะปรับตัวเข้ากับเพือนรุ่น ี่ ่ เดียวกัน เรียนรู้บทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิง
  • 13. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับประถมศึกษา (ต่อ) พัฒนาเกียวกับศีลธรรมจรรยาและค่า ่ นิยม  สามารถพึงพาตนเองได้ ่  พัฒนาเจตคติตอกลุมสังคมและต่อ ่ ่ สถาบันต่างๆ
  • 14. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับมัธยมศึกษา  สามารถสร้างความสัมพันธ์อนดีและ ั เหมาะสมกับเพือนในราวคราวเดียกัน ่ แสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับ เพศของตน  ยอมรับสภาพร่างกายตนเอง  รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
  • 15. แนวคิดของฮาวิกเฮิร์ส  ระดับมัธยมศึกษา (ต่อ)  มีการเตรียมตัวเพือการแต่งงานและ ่ การมีครอบครัว  เริ่มเตรียมตัวทีจะเป็นพลเมืองดี ่ มีความต้องการและรู้จักพัฒนาตนเอง ให้มีความรับผิดชอบ  มีความเข้าใจในเรื่องค่านิยม

ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์


 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Connectionism Theory)
เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thomdike) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกา เกิด วันที่ 31สิงหาคม ..1814ที่เมืองวิลเลี่ยมเบอรี่ รัฐแมซซาชูเสท และสิ้นชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ..1949 ที่เมืองมอนท์โร รัฐนิวยอร์ค
ประวัติของธอร์นไดค์
หลักการเรียนรู้ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะสมที่สุด
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี
...ธอร์นไดค์ เขาได้เริ่มการทดลองเมื่อปี ..1898 เกี่ยวกับการใช้หีบกล( Puzzie-box) เขาทดลองการเรียนรู้จนมีชื่อเสียง
การทดลองใช้หีบกล
 
การทดลอง ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้างขึ้น แล้วนำปลาไปวางล่อไวนอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง เพื่อจะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทำให้ประตูเปิดออก หลังจาก นั้นแมวก็ใช้เวลาในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น
จากการทดลอง ธอร์นไดค์อธิบายว่า การตอบสนองซึ่งแมวแสดงออกมาเพื่อแก้ปัญหา เป็นการตอบสนองแบบลองผิดลองถูก การที่แมวสามารถเปิดกรงได้เร็วขึ้น ในช่วงหลังแสดงว่า แมวเกิดการสร้างพันธะหรือตัวเชื่อมขึ้นระหว่างคานไม้กับการกดคานไม้
1.กฎแห่งความพร้อม(law of readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.กฎแห่งการฝึกหัด (low of exercise) การฝึกหัดหรือกระทำบ่อยๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การเรียนรู้นั้นคงถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อยๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงถาวร และในที่สุดอาจจะลืมได้
กฎการเรียนรู้
3.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (law of effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้น การได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้
การประยุกต์ทฤษฎีของธอร์นไดค์ 1.ธอร์นไดค์ในฐานะนักจิตวิทยาการศึกษา เข้าได้ให้ความสนใจในปัญหาการปรับปรุงการเรียนการสอนของนักเรียนในโรงเรียน เขาเน้นว่า นักเรียนต้องให้ความสนใจในสิ่งที่เรียน ความสนใจจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อครูจัดเนื้อหาที่ผู้เรียนมองเห็นว่ามีความสำคัญต่อตัวเขา
2. ครูควรจะสอนเด็กเมื่อเด็กมีความพร้อมที่เรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะเรียนและไม่ตกอยู่ในสภาวะบางอย่าง เช่น เหนื่อย ง่วงนอน เป็นต้น 3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฝนและทดทวนในสิ่งที่เรียนไปแล้วในเวลาอันเหมาะสม 4. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้รับความพึ่งพอใจและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรมเพื่อเป็นแรงจูงใจต่อตัวเองในการทำกิจกรรมต่อไป

จิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์


(Gestalt Psychology)
กลุ่มนี้ได้ชื่อว่า กลุ่มจิตวิทยาส่วนร่วม
คำว่า“Gestalt” หมายถึง ส่วนรวมทั้งหมดหรือโครงสร้างทั้งหมด ซึ้งเป็นคำที่มาจาก ภาษาเยอรมัน
ทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ เป็นแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับพฤติกรรมนิยม ผู้นำกลุ่มได้แก่ แมกซ์เวอร์ไธเมอร์ และผู้ร่วมกลุ่ม2 คน เคอร์ท คอฟพ์กา และวอล์ฟแกง โคเลอร์ เป็นชาวเยอรมัน