วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

 
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
บันดูรา
 
 
 การเรียนรู้โดยการสังเกต — Presentation Transcript
 
 
 
 
 
 
 
 
  • 1. การเรีย นรู้โ ดยการสัง เกตหรือ เลีย นแบบ ศาสตราจารย์บ น ดูร า ั
  • 2. ประวัต ิโ ดยสัง เขป• ของอัล เบิร ์ต บัน ดูร า (Albert Bandura) » นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่ให้ความสนใจงานที่ เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม » อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศ แคนาดา » ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ทางจิตวิทยาคลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา » ทำางานภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟ อร์ด
  • 3. การทดลอง• การทดลองอันแรกโดย บันดูรา ร็อส และร็อส (Bandural, Ross&Roos, 1961) เป็นการ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวโดยการสังเกต บันดูรา และผูร่วมงานได้แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม ้ หนึงให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชวิต แสดง ่ ี พฤติกรรมก้าวร้าว เด็กกลุ่มที่สองมีตัวแบบที่ไม่ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และเด็กกลุ่มที่สามไม่มี ตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
  • 4. • ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว การ ทดลองเริ่มด้วยเด็กและตัวแบบเล่นตุ๊กตา (Tinker Toys) สักครู่หนึ่งประมาณ 1 – 10 นาที ตัวแบบลุกขึ้นต่อย เตะ ทุบ ตุ๊กตาที่ทำาด้วย ยางแล้วเป่าลม ฉะนันตุ๊กตาจึงทนการเตะต่อย ้ หรือแม้ว่าจะนั่งทับหรือยืนก็ไม่แตก สำาหรับเด็ก กลุ่มที่สอง เด็กเล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กับตัวแบบ แต่ ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวให้ดูเป็น ตัวอย่าง เด็กกลุ่มที่สามเล่นตุ๊กตาโดยไม่มีตัว แบบ
  • 5. • หลังจากเล่นตุ๊กตาแล้วแม้ผทดลองพาเด็กไปดู ู้ ห้องที่มีตุ๊กตาที่น่าเล่นมากกว่า แต่บอกว่าห้าม จับตุ๊กตา เพื่อจะให้เด็กรู้สกคับข้องใจ เสร็จแล้ว ึ นำาเด็กไปอีกห้องหนึ่งทีละคน ซึ่งมีตุ๊กตาหลาย ชนิดวางอยู่และมีตุ๊กตายางที่เหมือนกับตุ๊กตาที่ ตัวแบบเตะต่อยและทุบรวมอยู่ด้วย
  • 6. ผลการทดลอง• พบว่า เด็กที่อยู่ในกลุ่มที่มีตัวแบบแสดง พฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว เตะต่อยทุบ รวมทั้งนั่งทับตุ๊กตายางเหมือนกับที่ สังเกตจากตัวแบบแสดงและค่าเฉลี่ย (Mean) ของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงโดยเด็กกลุ่มนี้ ทั้งหมดสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมก้าวร้าว ของเด็กกลุ่มที่สองและกลุ่มที่สาม
  • 7. การทดลองที่สอง• วิธีการทดลองเหมือนกับการทดลองที่หนึงแต่ใช้ ่ ภาพยนตร์แทนของจริง โดยกลุ่มหนึ่งดู ภาพยนตร์ที่ตัวแบบ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อีก กลุ่มหนึ่งดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดง พฤติกรรมก้าวร้าว ผลของการทดลองที่ได้ เหมือนกับการทดลองที่หนึ่ง คือ เด็กที่ดู ภาพยนตร์ที่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กที่อยู่ใน กลุ่มที่ดูภาพยนตร์ที่ตัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมที่ ก้าวร้าว
  • 8. การทดลอง• บันดูรา และเม็นลอฟได้ศึกษาเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งมี ความกลัวสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข จนกระทั่ง พยายามหลีกเลี่ยงหรือไม่มปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ ี เลี้ยง บันดูราและเม็นลอฟได้ให้เด็กกลุ่มหนึ่งที่มี ความกลัวสุนัขได้สงเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข ั และสามารถจะเล่นกับสุนัขได้อย่างสนุก โดยเริ่ม จากการค่อย ๆ ให้ตัวแบบเล่น แตะ และพูดกับ สุนัขที่อยู่ในกรงจนกระทั่งในที่สุดตัวแบบเข้าไป อยู่ในกรงสุนัข
  • 9. ผลของการทดลอง• ปรากฏว่าหลังจากสังเกตตัวแบบที่ไม่กลัวสุนัข เด็กจะกล้าเล่นกับสุนัขโดยไม่กลัว หรือ พฤติกรรมของเด็กที่กล้าที่จะเล่นกับสุนัขเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมที่แสดงว่ากลัวสุนัขจะลดน้อยไป
  • 10. สาระสำาคัญ• แนวคิดพืนฐาน ้• 1. บันดูรามีทศนะว่า พฤติกรรม (behavior หรือ B) ั ของมนุษย์มปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยหลักอีก 2 ปัจจัย คือ ี 1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ( Personal Factor ) 2) อิทธิพลของสภาพ แวดล้อม ( Environmental Influences )• 2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้ (Learning) กับการกระทำา(Performance)ซึ่งสำาคัญ มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่ จำาเป็นต้องแสดงออกทุกอย่าง เช่นเราอาจจะเรียนรู้วิธี การ ทุจริตในการสอบว่าต้องทำาอย่างไรบ้าง แต่ถึง เวลาสอบจริงเราอาจจะไม่ทจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้ ุ ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อ แม่เป็น
  • 11. • 3. บันดูราเชือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์สวนมาก ่ ่ เป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling) สำาหรับตัวแบบไม่จำาเป็นต้องเป็น ตัวแบบที่มีชวิตเท่านั้น แต่อาจจะ เป็นตัวแบบ ี สัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมส์คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็น รูปภาพ การ์ตูน หนังสือ นอกจากนี้ คำาบอกเล่า ด้วยคำาพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์- อักษรก็เป็นตัวแบบได้
  • 12. • บันดูรา (Bandura, 1977) ได้อธิบายกระบวนการที่ สำาคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเรียนรู้โดย ตัวแบบว่ามีทงหมด 4 อย่างคือ ั้ 1. ผู้เรียนจะต้องมีความใส่ใจ (Attention) ทีจะสังเกต ่ ตัวแบบ ไม่ว่าเป็นการแสดงโดยตัวแบบจริงหรือตัวแบบ สัญลักษณ์ ถ้าเป็นการอธิบายด้วยคำาพูดผู้เรียนก็ต้อง ตั้งใจฟังและถ้าจะต้องอ่านคำาอธิบายก็จะต้องมีความ ตั้งใจทีจะอ่าน ่• 2. ผู้เรียนจะต้องเข้ารหัสหรือบันทึกสิ่งทีสังเกตหรือสิ่งที่ ่ รับรู้ไว้ในความจำาระยะยาว• 3. ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว แบบ และควรจะทำาซำ้าเพื่อจะให้จำาได้• 4. ผู้เรียนจะต้องรู้จักประเมินพฤติกรรมของตนเองโดย ใช้เกณฑ์ (Criteria) ทีตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือโดย ่
  • 13. สรุป• การเรียนรู้พฤติกรรมสำาคัญต่าง ๆ ทังที่เสริมสร้างสังคม ้ (Prosocial Behavior) และพฤติกรรมทีเป็นภัยต่อ ่ สังคม (Antisocial Behavior) ได้เน้นความสำาคัญ ของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัว แบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทงตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพือน ั้ ่ หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน หรือจากการอ่าน จากหนังสือได้ การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการ ทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำา ตัวแบบทีมอิทธิพล ่ ี ต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทงตัวแบบในชีวิตจริงและตัว ั้ แบบทีเป็นสัญญลักษณ์ เพราะฉะนันพฤติกรรมของ ่ ้ ผู้ใหญ่ในครอบครัว โรงเรียน สถาบันการศึกษา และ
  • 14. การประยุกต์ใช้• 1. ตั้งวัตถุประสงค์ทจะทำาให้นกเรียนแสดงพฤติกรรม ี่ ั หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม 2. ผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำาหลายๆตัวอย่าง ซึงอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทัศน์ ่ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ 3. ผู้สอนให้คำาอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละ ครั้ง 4. ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควรจะใส่ใจหรือ เลือกใส่ใจ 5.จัดให้นักเรียนมีโอกาสทีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัว ่ แบบ เพือจะได้ดว่านักเรียนสามารถที่จะกระทำาโดยการ ่ ู เลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำาได้ไม่ถูกต้องอาจจะ ต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขทีตัวผู้เรียนเอง ่ 6.ให้แรงเสริมแก่นกเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถก ั ู
  • 15. ตัวอย่าง• การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อม เลียนแบบผูที่ได้รับรางวัลมากกว่าผูที่ถูกลงโทษ ้ ้ ดังนั้น เด็กเรียนรู้ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับ รางวัลหรือการลงโทษ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น